วันพฤหัสบดีที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2565

ผลการเรียนครั้งที่ 9

ผลการเรียนครั้งที่ 9

 สรุปต่อจากบทที่ 7 

คำสั่ง SQL ที่เกี่ยวกับ data definition


  ก่อนที่เราจะทำการศึกษาค าสั่ง SQL ส าหรับการสร้างและการกำหนดส่วนประกอบต่างๆของ ตารางข้อมูล ลองพิจารณาแบบจำลองข้อมูลในรูป 7.3 เพื่อใช้เป็นตัวอย่างประกอบ โดยจากรูปจะประกอบไป  


ด้วย 5 ตารางข้อมูล : CUSTOMER, INVOICE, LINE, PRODUCT และ VENDOR 



การสร้างฐานข้อมูล


    ก่อนที่เราจะประยุกต์ใช้ข้อมูลจาก RDBMS เราจะต้องด าเนินการสร้างโครงสร้างของฐานข้อมูล และทำการสร้างตารางข้อมูลที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลของผู้ใช้ ในการที่จะดำเนินการสร้างโครงสร้างของฐานข้อมูล RDBMS


 Database schema


 Schema ภายใต้ค าสั่ง SQL จะเป็นกลุ่มของตารางข้อมูลและดัชนีข้อมูลต่างๆในฐานข้อมูลที่ซึ่งจะ เป็นตารางข้อมูลและดัชนีของผู้ใช้หรือแอพพลิเคชันหนึ่งๆ


ชนิดของข้อมูลในฐานข้อมูล


    -ข้อมูลเชิงตัวเลข


    -ข้อมูลเชิงข้อความหรือตัวอักษร


    -ข้อมูลวันที่


การกำหนดโครงสร้างของตารางข้อมูล


 ณ ตอนนี้เรามีความพร้อมที่จะทำการกำหนดโครงสร้างตารางข้อมูล PRODUCT และ VENDOR


การกำหนดเงื่อนไข


 เราได้เรียนรู้เกี่ยวกับการสร้างแบบจำลองข้อมูลเชิงสัมพันธ์ที่ซึ่งจะกำหนดให้ ตารางข้อมูลจะต้องมี entity integrity และ referential integrity ดังนั้น ในการสร้างฐานข้อมูลจริง เราก็ ควรจะดำเนินการให้ตารางข้อมูลต่างๆมี entity และ referential integrity ด้วยเช่นกัน ในการทำให้ ตารางข้อมูลหนึ่งๆมีคุณสมบัติ 


การสร้างดัชนี

 แนวความคิดเกี่ยวกับการสร้างดัชนีจะช่วยให้เราสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหาข้อมูลและยัง สามารถช่วยหลีกเลี่ยงการปรากฏซ้ำของค่าของข้อมูลในแอทริบิวที่ทำการสร้างดัชนีได้ ด้วยเหตุนี้ ภาษา SQL จึงมีคำสั่งที่สนับสนุนการสร้างดัชนีที่ซึ่งจะสามารถดำเนินการได้ด้วยการประยุกต์ใช้คำสั่ง CREATE INDEX

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 11

  ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 11 บทที่ 8 โครงงาน project การออกแบบและจัดการฐานข้อมูล # พรีเซ็นโครงงานจากหัวข้อ การออกแบบและจัดฐานข้อมูลหลักสูตรโรง...